Skip to content
TED
  • กิจกรรมที่ผ่านมา
    • กิจกรรมปี 2019
    • กิจกรรมปี 2018
    • กิจกรรมปี 2016
    • กิจกรรมปี 2014
    • [email protected]
    • กิจกรรมปี 2013
    • TEDxThapaeGate
    • TEDxDoiSuthep
  • เกี่ยวกับเรา
  • พันธมิตรของเรา
  • เข้าร่วมกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • TH
  • EN
TED
  • กิจกรรมที่ผ่านมา
    • กิจกรรมปี 2019
    • กิจกรรมปี 2018
    • กิจกรรมปี 2016
    • กิจกรรมปี 2014
    • [email protected]
    • กิจกรรมปี 2013
    • TEDxThapaeGate
    • TEDxDoiSuthep
  • เกี่ยวกับเรา
  • พันธมิตรของเรา
  • เข้าร่วมกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • TH
  • EN

กิจกรรมที่ผ่านมาของ TEDx

  • กิจกรรมปี 2019
  • กิจกรรมปี 2018
  • กิจกรรมปี 2016
  • กิจกรรมปี 2014
  • [email protected]
  • กิจกรรมปี 2013
  • TEDxThapaegate
  • TEDxDoiSuthep
Copyright © 2021 TEDxChiangMai

" 2021 is our 10th anniversary. Celebrating over 50 small, large and XXL events. "

Contact us at [email protected]

or via our Facebook page.

TEDxChiangMai เป็นมากกว่างานอีเว้นท์ทั่วไป –
แต่คือเวทีสำหรับแนวคิดที่ควรค่าแก่การเผยแพร่ การเสวนา การเรียกร้องให้ดำเนินการ และชุมชนของคนที่เชื่อในไอเดีย
ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการทำงานร่วมกัน นอกจากอีเว้นท์สร้างสรรค์ประจำปีขนาดใหญ่ ‘TEDxChiangMai’ แล้วเรายังจัดงานขนาดเล็กและกิจกรรมอื่นๆ ตลอดทั้งปี

Learn more about TEDx at TEDx Talks.

www.ted.com/about/programs-initiatives/tedx-program

© 2022 TED • Built with GeneratePress
  • กิจกรรมที่ผ่านมา
    • กิจกรรมปี 2019
    • กิจกรรมปี 2018
    • กิจกรรมปี 2016
    • กิจกรรมปี 2014
    • [email protected]
    • กิจกรรมปี 2013
    • TEDxThapaeGate
    • TEDxDoiSuthep
  • เกี่ยวกับเรา
  • พันธมิตรของเรา
  • เข้าร่วมกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • TH
  • EN
Speaker 20 th

เอริค ฮอร์คินสัน

เอริคเป็นนักวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตที่ประยุกต์และออกแบบเทคโนโลยีที่ช่วยกำาหนดอนาคตของการเรียนการสอน เขาเป็นประธานและผู้ประสานงานวิจัยของ MAVR กลุ่มวิจัยที่ทำางานด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่เน้นด้านเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality or VR) และสภาวะจริงที่เสริมด้วยเทคโนโลยี (Augmented Reality or AR) งานประจำาของเขาคือสอน และทำาวิจัยด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและการศึกษา อยู่ที่มหาวิทยาลัยเกียวโต เขาเคยร่วมงานกับ TEDx Kyoto ในฐานะหัวหน้าทีมออกแบบสื่ออินเตอร์แอ็คตีฟ โครงการแรกๆ ที่เขาทำาคือ Arientation คือระบบการเรียนรู้แบบ AR ที่ออกแบบให้มีความเป็นส่วนตัวและทุกคนเข้าถึงได้เพื่อสร้างต้นแบบสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้แบบ AR ได้อย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดความตระหนักไปในวงกว้างเกี่ยวกับรูปแบบการเก็บข้อมูลด้วยเทคโนโลยีจำาลองที่ทำาให้เราดื่มด่ำาไปกับจินตนาการ โครงการอื่นๆ ของเอริคได้แก่ การชุมนุมด้านการท่องเที่ยวแบบเออาร์ นิทรรศการศิลปะชุมชนเออาร์ ห้องปริศนาที่ผสานโลกแห่งความเป็นจริงกับเสมือ

Speaker 19 th

ดร. ธัมมิกา เลชาน วันนิกาม

ลีชานเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดต่อและนักวิทยาศาสตร์ที่หน่วยวิจัย ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย งานวิจัยของเขาเกี่ยวกับการวิเคราะห์หากลไกของการติดเชื้อในปอดแบบเรื้อรัง การบำบัดด้วยภูมิต้านทานรูปใหม่ ๆ และการรักษาเพื่อจัดการกับแบคทีเรียและพยาธิวิทยาของการอักเสบในปอด ลีชานยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มักจะสื่อการให้สังคมได้รับทราบกับการติดเชื้อจากกลุ่มแบคทีเรียบนพื้นผิว และการติดเชื้อแบคทีเรียเรื้อรัง เขาเป็นหัวหน้าโครงการ Zero Covid Trial และการเฝ้าระวังกลุ่มโควิดที่ไม่แสดงอาการในประเทศไทย

ลีชานเป็นนักวิชาการทุนแลกเปลี่ยนที่วิทยาลัยการแพทย์ของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นออสเตรเลียและโรงพยาบาลศูนย์เขตยามากาตะ ประเทศญี่ปุ่น และเขียนบทความวิชาการมากกว่า 50 ชิ้น รางวัลที่เคยได้รับได้แก่ APSR Young investigator Prize 2018 รางวัลวิจัยดีเด่นด้านกลุ่มความสนใจพิเศษจาก TSANZSRS 2019 (สมาคมวิทยาศาสตร์ระบบทางเดินหายใจแห่งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์) และรางวัลวิจัยดีเด่นจาก ICIC & ISAAR 2019 (การประชุมนานาชาติวิทยาศาสตร์ด้านการติดเชื้อและเคมีบำบัดและการประชุมนานาชาติด้านจุลชีพดื้อยา)

Speaker 18 th

กฤตานนท์ ทศกูล

กฤตานนท์ ทศกูล เป็นคนทำสารคดีท้องถิ่นสตูล ภายใต้ชื่อ Save the Earth Cinematography ที่ตัวเองก่อตั้ง เขาได้ศึกษาเรียนรู้คลุกคลีอยู่กับชาวมันนิกลุ่มภูผาเพชร มานานนับสิบปี และมีโอกาสได้บันทึกเรื่องราวของชาวป่าเร่ร่อนกลุ่มนี้ในแง่มุ่มที่ไม่มีใครเคยทำมาก่อนใน “โครงการบันทึกวิถีชีวิตและความเปลี่ยนของชาวมันนิระยะยาว” สารดีสั้น “มันนิ เจ้าแห่งพงไพร” ที่เขาทำให้ TEDx เชียงใหม่ ก็มาจากโปรเจคต์นี้

กฤตานนท์ มีโอกาสได้เรียนรู้เรื่องราวของชาวมันนิมากมาย ทั้งจากการสังเกตุและการได้ฟังสิ่งที่พวกเขาเล่า จากแนวโน้มของวิถีชีวิตชาวมันนิที่เปลี่ยนไปเรื่อยๆ เขาหวังว่าการบันทึกนี้จะมีส่วนสำคัญในการศึกษาวิถีชีวิตของชาวมันนิในอานาคต ทั้งด้านมนุษย์วิทยา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ นอกจากการบันทึกแล้ว กฤตานนท์ ยังพยายามทำโปรเจคต์เล็กๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชาวมันนิกลุ่มนี้ เช่นการจัดการขยะ ส่งเสริมการศึกษาภาษาไทยและตัวเลข โครงการช็องแลกของเพื่อส่งเสริมงานหัตถกรรมของชาวมันนิกลุ่มนี้ไม่ให้สูญหายไปเช่นกลุ่มอื่นๆ เป็นต้น กฤตานนท์ จบปริญาตรีจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระหว่างศึกษา เขาได้ชนะโครงการประกวดสารคดี และวิดีโอสั้นระดับประเทศมากว่า 3 โครงการ เช่น รางวัลถ้วยพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารรี ในขณะนั้นจากโครงการทรูปลูกปัญญา รางวัลชนะเลิศวิดีโอรณรงค์ประเด็นสิ่งแวดล้อมทางทะเลจากกรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และรางวัลชนะเลิศวิดีโอส่งเสริมการท่องเที่ยวท้องถิ่นจากท.ท.ท. กฤตานนท์ยังได้ทำโครงการหนังสือและสารคดีอัศจรรย์ปูแห่งสตูล ร่วมกับเยาวชนออทิสติกที่มีพรสวรรค์ด้านศิลปะจากมาเลเซียและนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญด้านปูระดับประเทศ

Speaker 17 th

ดร.สมไทย วงษ์เจริญ

ดร.สมไทย วงษ์เจริญ เป็นผู้ประกอบการที่เริ่มต้นจากรถกระบะเก่า รับซื้อขยะจากหมู่บ้านหนึ่งไปอีกหมู่บ้านหนึ่ง ธุรกิจของเขาคือ วงษ์พาณิชย์ เป็นผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมรีไซเคิลในประเทศไทย

โดยมีเครือข่ายสาขาสถานีรีไซเคิลและร้านค้าขยะมากกว่า 2020 สาขาทั่วประเทศไทยและประเทศอื่นๆ รีไซเคิลวัสดุรีไซเคิลได้ปีละกว่า 1.5 ล้านตัน เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก โลหะ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ เขาเป็นผู้สนับสนุนการรีไซเคิลและเศรษฐกิจหมุนเวียนและเป็นวิทยากรบ่อยครั้งเกี่ยวกับโอกาสของผู้คนนการสร้างรายได้จากขยะของพวกเขาด้วยการแยกขยะและรีไซเคิล

Speaker 16 en

Cyrus James Khan

Cyrus is a self-taught digital artist, 3D generalist and game developer with over 10 years of experience working in VFX, 3D modeling, animation, rendering, logic systems and everything in between. His lifelong interest in information technology and science fiction has pushed him to the cutting edge of technological advances, leading him to become an early adopter and developer in fields such as virtual reality, game development and blockchain technology.

He co-founded the Atlas company, designing a decentralized freelance system, and has been taken on as a creative associate and consultant for notable companies such as the Kantana Group, the Central Group, Chang, FTCC, Propaganda GEM and more.

Aside from commissioned work, he continues pursuing innovative intellectual property development including digital 3D artwork, interactive experiences and video games at the intersect of the visual with the programmable.

Speaker 15 en

Christopher Oestereich

Chris Oestereich is a writer, lecturer, and circular economy leader who formerly led zero waste programs in the US grocery industry.

He now helps organizations shift towards the circular economy via his firm, Linear to Circular, and he’s launching a program that will partner with informal workers to create waste-to-value products.

Chris is a global ambassador for The RSA, the publisher of the Wicked Problems Collaborative, a lecturer at Thammasat University’s School of Global Studies, and a co-founder of the Circular Design Lab, an initiative that’s working to bring systemic design to communities.

Speaker 14 en

Aphisak Kamphen

Aphisak Kamphen (Aun) is a young organic farmer and youth leader from the Mae Tha Community in Northern Thailand. He gained a diploma in Industrial Design in the Fine and Applied Arts Program and decided to return home to pursue true happiness through a resilient way of living.

He is the main coordinator and facilitator for the community on organic agriculture and conducts training and workshops for various groups who share the same values and vision on sustainable development.

He also established and manages the “Mae Tha Sustainable Living” center for community learning, which aims to empower new generations and strengthen community networks in the organic movement in Thai society and beyond.

Speaker 13 en

Wayla Amatathammachad

Wayla is the current director of the International Low-Fat Art Fes that focuses on multi-level collaboration between art communities and CSOs to expand utilization of contemporary arts in society.

He is also an independent contemporary art management researcher.

His current project involves developing an open art network called ‘Prayoon for Art’ that includes volunteer art enthusiasts from all backgrounds to help build alliance networks stimulating the transnational sustainable creative ecosystem.

Speaker 12 en

Wan Wiriya

Assistant Professor Dr.Wan Wiriya lectures at the Environmental Science Research Center and Department of Chemistry at the Faculty of Science, Chiang Mai University.

His expertise is in air pollution monitoring for particulate matter, PAHs (Polycyclic aromatic hydrocarbons) from biomass burning, atmospheric acid accumulation, masks for protecting against PM2.5 micro-particles and COVID-19 viruses, and low-cost sensor development. He also assists in relevant community activities.

Speaker 11 en

Lalita Hanwong

Lalita Hanwong is a lecturer at the Faculty of Social Sciences, Kasetsart University in Bangkok. She teaches modern Southeast Asian history with emphasis on Myanmar and writes a weekly article for Matichon newspaper.

Her research includes work on Hla Myint, the great economist of Myanmar and the relations between Myanmar and Thailand during the Cold War. As a columnist, she is interested in contemporary issues including democratization, ethnic relations, and the Myanmar economy.

Speaker 10 en

Panuwan Chantawannakul

Dr. Panuwan works in the Department of Biology in the Faculty of Science at Chiang Mai University in Northern Thailand researching bee health issues in Southeast Asia. Her studies focus on the resistance mechanisms of Asian honeybees against bee diseases and parasitic mites. She has worked for many years with local beekeepers under the SMART BEE program to monitor bee diseases and parasites as well as develop Thai honeybee products in the region.

She also functions as regional coordinator in Asia and as the Vice President of COLOSS (Honeybee COlony LOSS, a honeybee research association which currently has more than 1700 bee researchers from 104 countries). She has also been invited to join as a member of Apimondia (the International Federation of Beekeepers’ Associations) and is the regional coordinator of Southeast Asia for bumble bee colonies for the International Union for Conservation of Nature (IUCN).

Speaker 9 en

Pakee Phupradist

Pakee Phupradist (Key) is a Non-Alcoholic Mixologist and the founder of intangible, the only non-alcoholic cocktail bar in Thailand. His bar serves concept drinks as a “Drink Course” using local ingredients sourced from communities around the country without recourse to any alcoholic content. Each drink & course for each season will contain background stories that endow customers with meaningful ideas benefitting their thoughts and feelings.

Key began his career as a bartender 12 years ago and has continuously worked in the F&B (food and beverage) industry since then, becoming a drinks designer, consultant, and advisor in the beverage business for companies, cafes, and bars.

Key hold a bachelor’s degree in International Hospitality Management from Payap University. He believes that all ingredients have value and that there are no boundaries. He is intrigued by local ingredients and studies their nature, origins and traditions of use. Using his techniques and professionalism gained in his F&B experience, he creates valuable artworks in the form of drinks that represent the importance of natural ingredients and ideas on life experienced through taste.

Speaker 8 en

Parit Wacharasindhu

Parit is a social entrepreneur and the CEO of StartDee, an EdTech start-up aimed at reducing inequality in education through developing an online learning application that enables students to access learning content at affordable prices.

In parallel, he is leading a campaign for a democratic constitution under the Re-Solution group, having collected over 150,000 signatures to submit a draft constitutional amendment to Parliament. He is also a podcast host, a columnist, and an author on Thai politics.

Prior to his current roles, Parit worked as a management consultant at McKinsey & Company after graduating in Philosophy, Politics and Economics at the University of Oxford, where he was also elected as President of the Oxford Union.

Speaker 7 en

Phongsatorn Saisutjarit

Phongsarorn is the (Acting) Director and a lecturer at the International Institute of Space Technology for Economic Development (InSTED) at the Department of Mechanical & Aerospace Engineering, King Mongkut University of Technology in North Bangkok (KMUTNB)
He obtained an engineering degree from the Department of Aeronautics and Astronautics at the University of Tokyo, a Master’s in Engineering from the Department of Aerospace Engineering, Tohoku University and his PhD from the Department of Aeronautics and Astronautics from the University of Tokyo.

He has been a lecturer at the Department of Mechanical and Aerospace Engineering, King Mongkut University of Technology in North Bangkok (KMUTNB) since 2012.

His research interests include Nano/micro/pico-satellite design and development, spacecraft guidance, navigation and control systems, and optimal and attitude controls for spacecraft. He was the project manager of Thailand’s first CubeSat “KNACKSAT and was program manager of Thailand’s second CubeSat “BBCSAT-1” made by high school students from Bangkok Christian College.

Speaker 6 en

Boonsong Thansrithong

Boonsong has a bachelor’s degree in Agriculture (Dairy and Beef Production) from Maejo University, a Master’s in Agriculture (Agriculture Extension) and a Ph.D. in Social Science, both from Chiangmai University. He serves the ECHO Asia Foundation as Program manager.

Boonsong has been involved in agricultural work focusing on natural agriculture since 1998. In earlier years, he worked with the Leprosy community in Chiangmai and nearby provinces, and then he became involved with Malaria research for two years before shifting back to relief and development.

Boonsong has established two training centers to assist and develop people in need in Asia. The second center focuses on species conservation through seed preservation, seed banking and related knowledge suitable in the context of development work in the Asia region.

Speaker 5 en

Bringkop Vora-urai

Born in Chiangmai Thailand. Bringkop Vora-urai graduated from the College of Music at Payap University in 1991. In 1997, he gained a Master’s in Ethnomusicology from Northern Illinois University (USA).

An ethnomusicologist and composer, he is interested in blending the cultural elements of minority people in remote areas in northern Thailand into his contemporary Lanna music compositions.

In 2003 he released “Bamboo in a Skyscraper – ลำไผ่ในตึกสูง”, his first recording project. The album features the Thai flute in all songs. In that year he also founded a Lanna contemporary orchestra called “The TIP Orchestra of Chiangmai”, which has performed in many major events around the country. He also founded the first Lanna Orchestra, which is a large orchestra consisting of musicians playing western instruments while some play traditional Thai and Lanna musical instruments. The Lanna Orchestra first performed in the Light and Sound show for the grand opening of “Wiang Kum Kam: the Lost City” performed for the Queen Sirikit and Crown Prince Maha Vajiralongkorn.

Speaker 4 en

Thanyaporn Krichtitayawuth

Thanyaporn Krichtitayawuth was invited to play a role in helping create a sustainable economy, society, and environment as the Executive Director of the Global Compact Network Thailand.

A part of the UN Global Compact initiative coordinating to enable Thailand and related countries to achieve the 17 Sustainability Development Goals by 2030 for future generations, Thanyaporn’s association coordinates sustainable through processes and assessment tools for development strategies throughout Thailand.

It aims to raise awareness and boost goal-setting abilities in businesses and drive the private sector to collaborate together regardless of which industry, its business context, or state of competition. Of course, the sustainability goals must correspond with and truly co-beneficial for long term business operations and society.

Speaker 3 en

Thanisara Ruangdej

Thanisara Ruangdej studied western languages majoring in Italian at Chulalongkorn University before earning an MBA at Chulalongkorn University’s Faculty of Commerce and Accounting. He was a former editorial assistant and journalist for The Matter (https://thematter.co), an online news media organization.

He is the project manager and co-founder of ELECT, (https://elect.in.th), which uses data and digital technology to promote democratic ideas and create more civil participation in Thailand’s politics and elections. He is also the CEO and Co-founder of Punch UP (https://punchup.world), Thailand’s first studio specializing in the use of data and design technology for storytelling.

Speaker 2 en

Torplus Yomnak

Torplus is an assistant professor and the director of political economics studies at the Faculty of Economics, Chulalongkorn University.

His passion in fighting corruption and enhancing good governance started since his undergraduate degree, when he wrote his first academic article on Corruption in Thailand, and he used his findings from this for his PhD dissertation.

At Chulalongkorn University, he co-founded SIAM Lab to study corruption from multidisciplinary approaches including economics, law, political science, education, linguistics, and data analytics to obtain a wider spectrum regarding solutions. Findings from the research are then implemented by HAND Social Enterprise, which he also co-founded, and which creates an ecosystem that systematically facilitates anti-corruption and good governance initiatives in Thailand.

Speaker 1 en

Chol Bunnag

Chol has a bachelor’s degree in Economics from Thammasat University and a master’s in Development Economics from the UK.

He is currently the founder and director of SDG Move, a research center in the Faculty of Economics in Thammasat University that researches and supports the implementation of sustainable development goals (SDGs) in Thailand. He is also the manager of SDSN Thailand, which is a national network connected with the UNSDSN, a global academic network for sustainable development.

Chol is an economist with interests in sustainable development, environmental management, agricultural and rural development, support systems for SDG implementation and SDG governance. Chol is also one of a few scholars in Thailand who has closely followed SDG implementation in Thailand from its earliest days.

Speaker 16

ดร.ต่อภัสสร์ ยมนาค

ต่อภัสสร์เป็นอาจารย์และผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯเขาเริ่มสนใจเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันและเสริมสร้างธรรมาภิบาลตั้งแต่ที่เลือกศึกษาเรื่องนี้ในปริญญานิพนธ์สมัยเรียนปริญญาตรี และได้นำข้อค้นพบจากงานนี้ไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอก

เมื่อเรียนจบกลับมาสอนที่จุฬา ต่อภัสสร์ได้ร่วมก่อตั้งศูนย์วิจัย SIAM Lab ซึ่งมุ่งเน้นศึกษาเรื่อง คอร์รัปชันผ่านมุมมองหลากหลายศาสตร์ ทั้งเศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ การศึกษา ภาษาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ข้อมูล เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่กว้างขวาง และหลากหลายขึ้น สำหรับปัญหาที่ซับซ้อนนี้ จากนั้นผลวิจัยต่าง ๆ ของศูนย์วิจัยจะได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้จริงโดย แฮนด์ วิสาหกิจเพื่อสังคม ที่เขาร่วมก่อตั้ง ทำให้เกิดเป็นระบบนิเวศน์ เพื่อส่งเสริมงานต่อต้านคอร์รัปชัน และเสริมสร้างธรรมาภิบาลในประเทศไทยอย่างเป็นระบบ

Speaker 15

Cyrus James Khan

Cyrus เป็นศิลปินดิจิทัลด้าน 3D Generalist และนักพัฒนาเกมส์ โดยที่เขาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และมีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี ในการทำงานด้าน VFX (Visual Effect – เทคนิคที่ใช้เพื่อสร้าง หรือนำเสนอมุมมอง ภาพที่มีลักษณะพิเศษ หรือภาพที่ไม่สามารถถ่ายทำได้จริง)

Speaker 14

Christopher Oestereich

Christopher Oestereich เป็นนักเขียน วิทยากร และผู้นำด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งก่อนหน้านี้เคยเป็นผู้นำโครงการ Zero Waste (โครงการขยะเป็นศูนย์) ในอุตสาหกรรมร้านขายของชำของในประเทศสหรัฐฯ

ตอนนี้ Christopher ช่วยให้องค์กรต่างๆ เปลี่ยนไปใช้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนผ่านบริษัทของเขาอย่าง Linear to Circular และเขากำลังเปิดตัวโครงการที่จะร่วมมือกับแรงงานนอกระบบเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์จากขยะสู่มูลค่า

คริสยังเป็นทูตระดับโลกของ The RSA ผู้จัดทำ Wicked Problems Collaborative อาจารย์จาก School of Global Studies แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้ร่วมก่อตั้ง Circular Design Lab ซึ่งเป็นความพยายามที่นำการออกแบบที่เป็นระบบมาสู่ชุมชน

Speaker 13

อภิศักดิ์ กำเพ็ญ

อภิศักดิ์ กำเพ็ญ (อั๋น) คนรุ่นใหม่จากชุมชนแม่ทา จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม ได้ตัดสินใจกลับบ้านเกิดเพื่อแสวงหาความสุขที่แท้จริงและวิถีชีวิตที่ยืดหยุ่น

ทำงานเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวกชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์ จัดอบรมและเวิร์คช็อปให้กับกลุ่มต่างๆที่ร่วมแบ่งปันคุณค่าและวิสัยทัศน์เดียวกันในการพัฒนาที่ยั่งยืน การใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน มุ่งสร้างพลังให้คนรุ่นใหม่และเสริมสร้างเครือข่ายชุมชนสู่ขบวนการอินทรีย์ในสังคมไทยและที่อื่นๆ

Speaker 12

เวลา อมตธรรมชาติ

ปัจจุบันเวลาดำรงดำแหน่งผู้อำนวยการเทศกาลศิลปะนานาชาติ Low Fat Art Fes ที่มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนศิลปะและภาคประชาสังคมเพื่อขยายโอกาสในการหยิบใช้งานศิลปะร่วมสมัยในสังคม เขายังเป็นนักวิจัยอิสระทางด้านการจัดการโครงการศิลปะ เวลากำลังผลักดันเครือข่ายสาธารณะภายใต้ชื่อ ‘ประยูรเพื่อศิลปะ’ ที่รวบรวมอาสาสมัครที่มีความสนใจในศิลปะจากหลากหลายความเชี่ยวชาญเพื่อสร้างเครือข่ายพันธมิตรในการขับเคลื่อนการสร้างนิระบบนิเวศการทางความคิดสร้างสรรค์ระดับข้ามชาติ

Speaker 11

ผศ.ดร. ว่าน วิริยา

ผศ.ดร. ว่าน วิริยา อาจารย์ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผศ.ดร. ว่าน วิริยา เชี่ยวชาญในเรื่องการตรวจสอบมลพิษทางอากาศ รวมถึงเรื่องฝุ่นละออง PAHs (Polycyclic aromatic hydrocarbons) จากการเผาไหม้ของสารชีวมวล การสะสมของกรดในบรรยากาศ หน้ากากสำหรับ PM2.5 และ COVID-19 ที่ได้รับการป้องกัน รวมทั้งมีส่วนช่วยเหลือในหลายๆกิจกรรมของชุมชน

Speaker 10

ดร.ลลิตา หาญวงษ์

ลลิตา หาญวงษ์ เป็นอาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่ โดยเฉพาะในประเด็นของประเทศเมียนมาร์ นอกจากนี้ยังเป็นคอลัมนิสต์รายสัปดาห์ ให้กับหนังสือพิมพ์มติชน โดยงานวิจัยของลลิตา ประกอบไปด้วยงานที่เกี่ยวข้องกับหละ มยิ้น (Hla Myint) นักเศรษฐศาสตร์ชาวเมียนมาร์ และความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์หลังยุคสงครามเย็น ส่วนงามคอลัมนิสต์นั้น จะเป็นบทความเหตุการณ์ร่วมสมัยเกี่ยวกับประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ชนเผ่า และเศรษฐกิจเมียนมาร์

Speaker 9

ดร.ภานุวรรณ จันทวรรณกูร

ดร.ภาณุวรรณปัจจุบันทำงานในภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประเทศไทยเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพผึ้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การศึกษาของเธอยังเน้นไปที่กลไกการต้านทานของผึ้งเอเชียต่อโรคผึ้งและไรปรสิต

ได้มีโอกาสทำงานกับคนเลี้ยงผึ้งในท้องถิ่นมาหลายปีภายใต้โครงการ SMART BEE เพื่อเฝ้าระวังโรคและปรสิตของผึ้ง และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผึ้งของไทยในภูมิภาค

นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานระดับภูมิภาคในเอเชียและรองประธาน เครือข่ายนักวิจัยผึ้งโลก COLOSS (Honey bee COLony LOSS) สมาคมวิจัยผึ้งที่มีนักวิจัยผึ้งมากกว่า 1,700 คนจาก 104 ประเทศ ดร.ภานุวรรณ ยังได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มสุขภาพผึ้งของ Apimondia (สหพันธ์นานาชาติของสมาคมผู้เลี้ยงผึ้ง) และยังเป็นผู้ประสานงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของแมลงภู่ของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN; International Union for Conservation of Nature)

Speaker 8

ภาคี ภู่ประดิษฐ์

ภาคี ภู่ประดิษฐ์ หรือคี เป็นผู้ก่อตั้งร้าน Intangible ร้าน Non-Alcoholic Cocktail Bar หนึ่งเดียวใน ไทยที่เสิร์ฟและนําเสนอวัตถุดิบจากหลากหลายชุมชนทั่วประเทศ ให้ออกมาในลักษณะของ Drink Course นําเสนอเรื่องราวแง่คิดความรู้สึก และมุมมองในการดําเนินชีวิต ผ่านเครื่องดื่มแต่ละแก้ว เพื่อ ให้ลูกค้าได้นําเรื่องราวนี้กลับไปเป็นประโยชน์และเป็นเหมือนของขวัญ คีเริ่มสายงานด้วยอาชีพบาร์เทนเเดอร์ เมื่อ 12 ปีที่แล้ว เติบโตในสายอาหารและเครื่องดื่มเรื่อยมา เป็นที่ปรึกษาด้านธุรกิจเครื่องดื่ม และออกแบบเครื่องดื่มให้แก่ร้านและบริษัทต่างๆ สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการงานบริการ หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ ด้วยความเชื่อที่ว่าทุกวัตถุดิบมีคุณค่าและไม่มีพรมแดน คีจึงมีความสนใจในการศึกษาเรียนรู้วัตถุดิบชุมชน ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและธรรมชาติ จากแต่ละพื้นถิ่น เพื่อนํามาต่อ ยอดและสร้างสรรค์ผ่านเทคนิค มุมมองรสชาติและประสบการณ์ใหม่ๆ เพื่อหวังให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวมต่อไป

Speaker 7

พริษฐ์ วัชรสินธุ

พริษฐ์ ปัจจุบันเป็น CEO ของ StartDee สตาร์ทอัพด้านการศึกษาที่มุ่งลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ผ่านการพัฒนาแอปพลิเคชันการเรียนออนไลน์เพื่อให้นักเรียนทั่วประเทศเข้าถึงเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีคุณภาพได้ผ่านสมาร์ทโฟน
ในขณะเดียวกัน เขาเป็นหนึ่งในแกนนำของกลุ่ม Re-solution ที่รณรงค์ให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย โดยล่าสุดได้รวบรวมกว่า 150,000 รายชื่อเพื่อยื่นร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสู่รัฐสภา นกอกจากนั้น เขายังเป็นผู้จัดพอดคาสต์ คอลัมนิสต์ และนักเขียนด้านการเมืองไทย
ก่อนหน้านี้ พริษฐ์ เคยทำงานเป็น Management Consultant ที่บริษัท McKinsey & Company หลังสำเร็จการศึกษาด้านปรัชญา การเมืองและเศรษฐศาสตร์ที่ University of Oxford โดยขณะอยู่ที่มหาวิทยาลัย เขาได้รับเลือกให้เป็นประธานของสมาคม Oxford Union

Speaker 5

บุญส่ง ธารศรีทอง

บุญส่ง ทำงานเกี่ยวข้องกับงานพัฒนาด้านการเกษตร โดยเน้นในรูปแบบเกษตรธรรมชาติมาตั้งแต่ปี 2541 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยช่วงแรกทำงานกับชุมชนผู้ป่วยโรคเรื้อนในเชียงใหม่ และ จังหวัดใกล้เคียง จากนั้นมีส่วนในงานวิจัยมาลาเรีย ก่อนกลับมาทำงานที่เกี่ยวกับการพัฒนา บุญส่งมีโอกาสสร้างศูนย์เรียนรู้การเกษตรเพื่อให้การพัฒนาให้กับผู้คนที่ต้องการความช่วยเหลือในเอเชียสองแห่ง แห่งที่สองซึ่งเป็นแห่งที่ส่งเสริมงานด้านการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์, ธนาคารเมล็ดพันธุ์ และองค์ความรู้ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวและเหมาะสมกับงานพัฒนาในบริบทของภูมิภาคเอเชีย

Speaker 6

ดร.พงศธร สายสุจริต

รักษาการผู้อำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีอวกาศนานาชาติ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ (สทอศ.) และ อาจารย์ประจำภาควิชาเครื่องกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ดร.พงศธร ได้เป็น อาจารย์ประจำภาควิชาเครื่องกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตั้งแต่พ.ศ. 2555 มีความเชี่ยวชาญและความสนใจ ในด้านการออกแบบพัฒนาระบบดาวเทียมขนาดเล็ก (Nano/micro/pico-satellite) ระบบการนำวิถี, การนำทางและการควบคุมยานอวกาศ

Speaker 4 TH

บฤงคพ วรอุไร

อาจารย์บฤงคพ วรอุไร นักประพันธ์เพลงและผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีชาติพันธุ์ อาจารย์บฤงคพ สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์มหาวิทยาลัยพายัพ และปริญญาโทด้านชาติพันธุ์วิทยาจากมหาวิทยาลัยนอร์เทิร์นอิลลินอยส์ (สหรัฐอเมริกา) ในฐานะนักชาติพันธุ์วิทยาและนักแต่งเพลง เขามีความสนใจในการผสมผสานทางวัฒนธรรม ในปี พ.ศ. 2546 ได้ก่อตั้งวงออร์เคสตราล้านนาวงแรก “The TIP Orchestra of Chiangmai” ซึ่งเป็นวงออเคสตราขนาดใหญ่ ที่มีเครื่องดนตรีตะวันตกพร้อมด้วยเครื่องดนตรีไทยและดนตรีล้านนา อย่างที่เราทราบกันดีว่าดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของทุกวัฒนธรรมมาโดยตลอด

Speaker 3 TH

ธันยพร กริชติทายาวุธ

ผู้อำนวยการบริหารสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ได้รับเชิญเป็นพันธมิตรในการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาสร้างความยั่งยืนให้กับระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อทำให้ประเทศไทยและประเทศที่เกี่ยวข้องได้บรรลุวัตถุประสงค์ของความยั่งยืนทั้ง 17 ประการ ภายใน ค.ศ. 2030 และต่อเนื่องหลังจากนั้นไปเพื่อลูกหลานเจเนอเรชั่นถัดไปของเรา

Speaker 2 TH

ธนิสรา เรืองเดช

เป็น CEO และ ผู้ร่วมก่อตั้ง Punch Up (https://punchup.world) สตูดิโอที่ให้คำปรึกษาและออกแบบการสื่อสารด้วยข้อมูลและภาพ เป็นสตูดิโอรายแรกของประเทศไทยที่ผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล งานออกแบบ และเทคโนโลยีเพื่อการเล่าเรื่อง Project Manager และ ผู้ร่วมก่อตั้ง ELECT (https://elect.in.th) สื่อข้อมูลและเทคโนโลยีภาคประชาชน ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการเลือกตั้งของประชาชน

Speaker 1 TH

ผศ.ชล บุนนาค

ผู้อำนวยการ SDG Move ชล เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่สนใจด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน การจัดการสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาการเกษตรและชนบท ระบบในการสนับสนุนการขับเคลื่อน SDGs และระบบธรรมาภิบาล (Governance) ชลยังเป็นหนึ่งในนักวิชาการไม่กี่คนในประเทศไทยที่ทำการติดตามการขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทยมาตั้งแต่ต้น